Monday, January 11, 2016

การทำ Migrate Table database

การทำ Migrate Table database บน Ubuntu4 by Terminal
****ก่อนการสร้างTable ต้องสร้าง database ก่อน หากยังไม่ได้สร้างสามารถศึกษาได้จาก http://cnexplus.blogspot.com/2016/01/migrate-database.html

1. ทำการไป Folder ที่ต้องการสร้างโดยใช้คำสั่ง cd /var/www/laravel/  หากเข้าไปแล้วให้พิมพ์ sudo php artisan migrate:make Create_table_use  ดังภาพที่ 1.1,1.2


ภาพที่ 1.1
      จากนั้นไปทำการเปิดไฟล์ที่ได้ ซึ่งอยู่ใน /var/www/laravel/app/database/migrations/...

ทำการแก้ไขจาก

<?php

use Illuminate\Database\Schema\Blueprint;
use Illuminate\Database\Migrations\Migration;

class CreateTableUser extends Migration {

    /**
     * Run the migrations.
     *
     * @return void
     */
    public function up()
    {
        //
    }

    /**
     * Reverse the migrations.
     *
     * @return void
     */
    public function down()
    {
        //
    }

}


เป็น

<?php

use Illuminate\Database\Schema\Blueprint;
use Illuminate\Database\Migrations\Migration;

class CreateTableUser extends Migration {

    /**
     * Run the migrations.
     *
     * @return void
     */
    public function up()
    {
        //
        Schema::create('users', function($table)
        {
            $table->increments('id');
            $table->string('fisrtname')->unique();
            $table->string('lastname');
            $table->string('email');
        });

    }

    /**
     * Reverse the migrations.
     *
     * @return void
     */
    public function down()
    {
        //
        Schema::drop('users');
    }

}

ดังภาพที่ 1.2 
ภาพที่ 1.2
2. เมื่อทำการแก้ไขแล้วให้เปิดไฟล์ database.php ซึ่งอยู่                    ใน/var/www/laravel/app/config/database.php เพื่อทำการ configเมื่อเปิดแล้วให้ทำการแก้ไขให้ตรงกับ Database ของเรา
'mysql' => array(
            'driver'    => 'mysql',
            'host'      => 'localhost',
            'database'  =>  'testlaravel',
            'username'  => 'root',
            'password'  => '12345',
            'charset'   => 'utf8',
            'collation' => 'utf8_unicode_ci',
            'prefix'    => '',
        ),
ดังภาพที่ 1.3 

ภาพที่ 1.3
3. เมื่อเสร็จแล้วให้กลับไปที่ Terminal อยู่จะอยู่ที่ /var/www/laravel แล้วพิมพ์ php artisan migrate --package=cartalyst/sentry เพื่อทำการ migrate ไฟล์ออกมา จะได้้ผลลัพธ์ดังภาพ 1.4 , 1.5

ภาพที่ 1.4


ภาพที่ 1.5

4. เมื่อทำการ migrateแล้ว ให้พิมพ์ php artisan config:publish cartalyst/sentry   เพื่อทำการ config ไฟล์ ดังภาพที่ 1.6 , 1.7

ภาพที่ 1.6


ภาพที่ 1.7

 5. เมื่อทำการ migrate แล้วจะได้ table ใน database ตามภาพที่ 1.8


ภาพที่ 1.8

============================END=============================



No comments:

Post a Comment