Monday, January 11, 2016

การใช้งาน Sentry กับ laravel 4


1.ติดตั้ง  Sentry
เปิดไฟล์ composer.json  ที่อยู่ในโฟเดอร์ laravel

ให้ทำการแก้ไขและเพิ่มคำสั่งไว้ใน "require" ดังคำสั่งข้างล่างนี้ 



"require": {
  "laravel/framework": "4.2.*",
  "cartalyst/sentry": "2.1.*"
 },
  
 
 จากนั้นทำการ อัพเดด composer
sudo  composer update 

ถ้าขึ้นแบบนี้แสดงว่า install ผ่าน




 2. ติดต่อ กับ Database

แก้ไขไฟล  var/www/laravel/app/config/app.php

ไปที่ 'providers' => array(   แล้วทำการเพิ่มคำสั่งนี้ไว้ในบรรทัดสุดท้าย

'Cartalyst\Sentry\SentryServiceProvider',

เลื่อนลงมาที่ 'aliases' => array( แล้วทำการเพิ่มคำสั่งข้างล่างไว้ในบรรทัดสุด้ทาย

'Sentry' => 'Cartalyst\Sentry\Facades\Laravel\Sentry', 



 แก้ไขไฟล์ /var/www/laravel/app/config/database.php 

 ให้ตรงกับ Database ที่จะเชื่อมต่อ

'mysql' => array(
            'driver'    => 'mysql',
            'host'      => 'localhost',
            'database'  => 'test_create01',
            'username'  => 'root',
            'password'  => '1234',
            'charset'   => 'utf8',
            'collation' => 'utf8_unicode_ci',
            'prefix'    => '',
        ),


จากนั้นทำการ Migrate Database 

http://cnexplus.blogspot.com/2016/01/migrate-database_11.html


ทำการเปิด terminal และไปยังที่เก็บไฟล์ของ laravel โดยใช้คำสั่ง

cd /var/www/laravel/   



ทำการ migrate ไฟล์ออกมา 

sudo php artisan migrate --package=cartalyst/sentry




ทำการ config ไฟล์

sudo php artisan config:publish cartalyst/sentr   


*(ถ้าไม่ขึ้นพิมคำสั่งข้างบนอีกครัง)

เข้าไปดูใน Database (http://localhost/phpmyadmin/)  จะได้ table ดังนี้ 









No comments:

Post a Comment